+1 ศูนย์ประสานและติดตามสถานการณ์น้ำ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โทรศัพท์ 0-2243-6956 โทรสาร 0-2243-6956, 0-2241-3350
Webpage
: http://www.rid.go.th/flood
, www.kromchol.com, E-mail : rid_flood@yahoo.com
_________________________________________________________
สรุปสถานการณ์น้ำ วันที่
4 พฤษภาคม 2550
1.สภาพภูมิอากาศ
พายุดีเปรสชั่นในทะเลอันดามัน เมื่อเวลา 04.00 น. วันนี้ ( 4 พฤษภาคม 2550 ) มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากจังหวัดตากไปทางตะวันตกเฉียงใต้
ประมาณ 700 กิโลเมตร หรือ ที่ละติจูด 14.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 93.0 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ
55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้ยังคงเคลื่อนตัวทางเหนือค่อนทางตะวันตกอย่างช้า
ๆ คาดว่าจะเคลื่อนเข้าประเทศพม่าในระยะต่อไป ลักษณะดังกล่าว จะทำให้บริเวณด้านตะวันตกของประเทศตั้งแต่ภาคเหนือลงไปถึงภาคใต้มีฝนตกเพิ่มมากขึ้น
โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากได้บางพื้นที่บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย
กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรีประจวบคีรีขันธ์และชุมพร
จึงขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยบริเวณจังหวัดดังกล่าวมาระมัดระวังอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลัน
และน้ำป่าไหลหลากที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ไว้ด้วย สำหรับคลื่นลมในอ่าวไทยจะมีกำลังอ่อนลง
โดยจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติในวันพรุ่งนี้ ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะยังคงมีฝนตกชุกหนาแน่นและคลื่นลมในทะเลอันดามันยังคงมีกำลังแรงต่อไปอีก
1-2 วัน
2.สภาพฝน
ปริมาณฝนสูงสุดรายภาค
ตั้งแต่ 07.00น. วันที่ 3พฤษภาคม 2550
จนถึง 07.00 น. วันที่ 4พฤษภาคม 2550 มีดังนี้
ภาคเหนือ ที่
อ.เถิน จ.ลำปาง 39.5 มม.
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น 68.4 มม.
ภาคกลาง ที่
อ.เมือง จ.ราชบุรี 63.1 มม.
ภาคตะวันออก ที่
อ.เมือง จ.ระยอง 69.1 มม.
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก ที่
อ.หัวหินจ.ประจวบคีรีขันธ์ 162.0 มม.
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ที่
อ.กระบุรี จ.ระนอง 64.3 มม.
3. สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำ
สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ
(4 พฤษภาคม 2550) มีปริมาตรน้ำในอ่างฯทั้งหมด 46,042 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือ
คิดเป็นร้อยละ 67 ของความจุอ่างฯทั้งหมด มากกว่าปี 2549 (43,599 ล้านลูกบาศก์เมตร) จำนวน 2,443 ล้านลูกบาศก์เมตร
หรือ คิดเป็นร้อยละ 3 ของความจุอ่างฯทั้งหมด
สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำในจังหวัดที่กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเตือนภัยจากฝนตกหนัก
(4พ.ค.2550)มีดังนี้
จังหวัด |
อ่างเก็บน้ำ |
ความจุ |
ปริมาตรน้ำในอ่างฯ |
% ความจุ |
(ล้าน
ลบ.ม.) |
(ล้าน
ลบ.ม.) |
|||
แม่ฮ่องสอน |
อ่างฯ แม่ฮ่องสอน |
0.73 |
0.73 |
100 |
|
รวม |
0.73 |
0.73 |
100 |
เชียงใหม่ |
แม่งัด |
265.00 |
133.00 |
50 |
|
แม่กวง |
263.00 |
55.00 |
21 |
|
อ่างฯ แม่ออน |
4.53 |
0.8 |
18 |
|
อ่างฯ แม่จอกหลวง |
1.10 |
0.95 |
86 |
|
อ่างฯ ห้วยมะนาว |
4.30 |
2.55 |
59 |
|
อ่างฯ โป่งจ้อ |
2.60 |
1.61 |
62 |
|
อ่างฯ แม่ตูบ |
39.00 |
13.55 |
35 |
|
อ่างฯ แม่โก๋น |
5.53 |
1.34 |
24 |
|
อ่างฯ ห้วยเดื่อ |
4.28 |
3 |
70 |
|
อ่างฯ แม่แหลงหลวง |
3.64 |
0.16 |
4 |
|
อ่างฯ ห้วยแม่ข้อน |
4.08 |
0.54 |
13 |
|
อ่างฯ สันหนอง |
1.45 |
1.01 |
70 |
|
อ่างฯ แม่ทะลบหลวง |
15.30 |
8.7 |
57 |
|
อ่างฯ แม่ตะไคร้ |
0.85 |
0.802 |
94 |
|
รวม |
614.66 |
223.01 |
36 |
ตาก |
อ่างฯ ห้วยแม่สอด |
5.50 |
0.76 |
14 |
|
อ่างฯ ห้วยลึก |
5.80 |
2.47 |
43 |
|
รวม |
11.30 |
3.23 |
29 |
สุโขทัย |
อ่างฯ คลองข้างใน |
9.00 |
6.06 |
67 |
|
อ่างฯ ห้วยท่าแพ |
58.00 |
28.97 |
50 |
|
อ่างฯ ห้วยแม่สูง |
12.45 |
7.75 |
62 |
|
รวม |
79.45 |
42.78 |
54 |
กำแพงเพชร |
อ่างฯห้วยป่าบง |
1.40 |
1.10 |
79 |
|
รวม |
1.40 |
1.10 |
79 |
อุทัยธานี |
ทับเสลา |
160.00 |
49.00 |
31 |
|
อ่างฯ ห้วยขุนแก้ว |
43.41 |
10.39 |
24 |
|
รวม |
203.41 |
59.39 |
29 |
จังหวัด |
อ่างเก็บน้ำ |
ความจุ |
ปริมาตรน้ำในอ่างฯ |
% ความจุ |
(ล้าน
ลบ.ม.) |
(ล้าน
ลบ.ม.) |
|||
กาญจนบุรี |
ศรีนครินทร์ |
17,745.00 |
15,216 |
86 |
|
วชิราลงกรณ |
8,860.00 |
5,122 |
58 |
|
ลำตะเพิน |
50.00 |
46.26 |
93 |
|
ห้วยเทียน |
10.65 |
6.2 |
58 |
|
พุตะเคียน |
4.00 |
1.75 |
44 |
|
รวม |
26,669.65 |
20,392.21 |
76 |
ราชบุรี |
ชัฎป่าหวาย |
2.50 |
1.80 |
72 |
|
ห้วยสำนักไม้เต็ง |
36.00 |
14.74 |
41 |
|
ห้วยมะหาด |
4.30 |
3.01 |
70 |
|
ท่าเคย |
23.40 |
14.18 |
61 |
|
ห้วยโป่งกระทิง |
0.23 |
0.22 |
96 |
|
รวม |
66.43 |
33.95 |
51 |
เพชรบุรี |
อ่างฯ ห้วยสามเขา |
3.4 |
1.46 |
43 |
|
อ่างฯ ห้วยสงสัย |
4.054 |
1.68 |
41 |
|
อ่างฯ ห้วยทราย |
1.95 |
0.68 |
35 |
|
อ่างฯ ทุ่งขาม |
8 |
2.98 |
37 |
|
อ่างฯ ห้วยตะแปด |
4 |
2.63 |
66 |
|
อ่างฯ ห้วยพุน้อย |
0.315 |
0.128 |
41 |
|
อ่างฯ ห้วยวังยาว |
0.265 |
0.152 |
57 |
|
อ่างฯ หุบกะพง |
0.36 |
0.029 |
8 |
|
อ่างฯ ห้วยพุหวาย |
0.8 |
0.191 |
24 |
|
รวม |
23.144 |
9.93 |
43 |
ประจวบคีรีขันธ์ |
อ่างฯ คลองช่องลม |
5.5 |
4.51 |
82 |
|
อ่างฯ คลองจะกระ |
10.4 |
10.46 |
101 |
|
อ่างฯ ยางชุม |
41.1 |
29.72 |
72 |
|
อ่างฯ คลองบึง |
22.2 |
14.99 |
68 |
|
อ่างฯ ห้วยอ่างหิน |
2.8 |
0.88 |
31 |
|
อ่างฯ ห้วยไทรงาม |
9.5 |
7.35 |
77 |
|
รวม |
91.5 |
67.91 |
74 |
อ่างเก็บน้ำภูมิพลและอ่างเก็บน้ำสิริกิติ์มีปริมาตรน้ำในอ่างฯทั้งหมด 8,699 และ 5,811 ล้านลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 65 และ 61 ของความจุอ่างฯทั้งหมด
ตามลำดับ โดยมีปริมาตรน้ำทั้งสองอ่างฯรวมกัน จำนวน 14,510ล้านลูกบาศก์เมตร
สำหรับอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาตรน้ำในอ่างฯ
น้อยกว่า 40 % ของความจุอ่างฯ มีจำนวน 9 อ่าง ซึ่งมีปริมาณน้ำเพียงพอสำหรับในช่วงฤดูแล้งนี้
และไม่มีปัญหาการขาดแคลนน้ำแต่อย่างใด
ได้แก่
1) อ่างเก็บน้ำลำนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ มีปริมาตรน้ำในอ่าง 35
ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 29
ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550
จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 32.85 ล้านลูกบาศก์เมตร
2)
อ่างเก็บน้ำทับเสลา จังหวัดอุทัยธานี มีปริมาตรน้ำในอ่าง 49 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 31 ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550
จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 46.73 ล้านลูกบาศก์เมตร
3) อ่างเก็บน้ำขุนด่านปราการชล
มีปริมาตรน้ำในอ่าง 74 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 33 ของความจุ อ่างฯ
ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม
2550 จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 66.70 ล้านลูกบาศก์เมตร
4) อ่างเก็บน้ำแม่กวง จังหวัดเชียงใหม่
มีปริมาตรน้ำในอ่าง 55 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 21 ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550
จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 55 ล้านลูกบาศก์เมตร
5) อ่างเก็บน้ำกิ่วลม จังหวัดลำปาง
มีปริมาตรน้ำในอ่าง 24 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 22 ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550
จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 14.71 ล้านลูกบาศก์เมตร
6) อ่างเก็บน้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบศีรีขันธ์
มีปริมาตรน้ำในอ่าง 122 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 35ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ
สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550 จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 83 ล้านลูกบาศก์เมตร
7)
อ่างเก็บน้ำคลองสียัด จังหวัดฉะเชิงเทรา
มีปริมาตรน้ำในอ่าง 160 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 38
ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ
ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550 จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 130 ล้านลูกบาศก์เมตร
8) อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง จังหวัดอุดรธานี มีปริมาตรน้ำในอ่าง 44 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 38 ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบายน้ำ ณ
สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550 จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 39 ล้านลูกบาศก์เมตร
9)
อ่างเก็บน้ำป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัด ลพบุรี มีปริมาตรน้ำในอ่าง 372 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 39 ของความจุอ่างฯ ใช้น้ำตามแผนการระบาย
ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2550 จะมีปริมาตรน้ำในอ่างอยู่ที่ 284 ล้านลูกบาศก์เมตร
4. สภาพน้ำท่า
แม่น้ำปิง สภาพน้ำท่าตั้งแต่ท้ายเขื่อนภูมิพล
จังหวัดตาก ถึงจังหวัดนครสวรรค์ อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยที่สถานี P.2A บ้านท่าแค อำเภอเมือง จังหวัดตาก มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 446.5
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และที่สถานี P.7A
สะพานบ้านห้วยยาง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 368 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
แม่น้ำวัง เขื่อนกิ่วลมซึ่งเป็นแหล่งน้ำต้นทุนของแม่น้ำวังมีปริมาตรน้ำ
24 ล้านลบ.ม.(21 %)
สภาพน้ำท่าแม่น้ำวัง อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยที่สถานี W.4Aบ้านวังหมัน อำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 3.2
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
แม่น้ำยม
สภาพน้ำท่าตั้งแต่จังหวัดแพร่ถึงจังหวัดพิจิตร อยู่ในเกณฑ์น้อย โดยที่สถานี Y.1C ที่สะพานบ้าน น้ำโค้ง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน
2.2 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และที่สถานี Y.17 บ้านสามง่าม
อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร มีสภาพน้ำนอนคลอง
แม่น้ำน่าน สภาพน้ำท่าตั้งแต่ท้ายเขื่อนสิริกิติ์
จังหวัดอุตรดิตถ์ ถึงจังหวัดนครสวรรค์ อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยที่สถานี N.5A ที่สะพานเอกาทศรถ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 215.3
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และที่สถานี N.67 สะพานบ้านเกยไชย
อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์
มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 232 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ส่วนสภาพน้ำท่าด้านเหนือเขื่อน ที่สถานี N1หน้าสำนักงานป่าไม้ อ.เมือง จ.น่าน มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 8.5 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
แม่น้ำเจ้าพระยา
ระดับน้ำและปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ปัจจุบัน (4
พฤษภาคม 2550) มีปริมาณน้ำที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 434 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา 50 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที โดยมีระดับน้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยา
+15.79 ม.(รทก.) เขื่อนพระรามหกหยุดการระบายน้ำ
แม่น้ำโขง บริเวณตั้งแต่ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ถึงอำเภอโขงเจียม
จังหวัดอุบลราชธานี มีน้ำนอนคลอง
แม่น้ำมูล สถานีวัดน้ำ M.6A
บริเวณบ้านสตึก อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ สภาพน้ำนอนคลอง
แม่น้ำพระแสง จ.สุราษฎร์ธานี ที่สถานี X.37A บริเวณ บ้านย่านดินแดง อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 113.2ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ระดับน้ำ 7.33 ม. ระดับตลิ่ง 10.76 ม. อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย มีแนวโน้มลดลง
แม่น้ำคลองนาท่อม จ.พัทลุง ที่สถานี X.170 บริเวณบ้านลำ กิ่ง อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 2.7 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ระดับน้ำ 20.46 ม. ระดับตลิ่ง 27.38 ม. อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย มีแนวโน้มทรงตัว
สถานการณ์น้ำท่าในเขตจังหวัดที่กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเตือนภัยอันตรายจากฝนตกหนัก(4พ.ค.2550)
ดังนี้
แม่น้ำปาย จ.แม่ฮ่องสอน ที่สถานี Sw.5A บริเวณบ้านท่าโป่งแดง อ.เมือง มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 22ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 0.13 ม. ระดับตลิ่ง 5.00 ม.
อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย แนวโน้มเพิ่มขึ้น
แม่น้ำปิง จ.เชียงใหม่ ที่สถานี P.1 บริเวณสะพานนวรัฐ
อ.เมือง มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 19 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 1.60ม. ระดับตลิ่ง 3.70 ม.
อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย แนวโน้มลดลง
แม่น้ำสะแกกรัง จ.อุทัยธานี ที่สถานี Ct.2A หน้าศาลากลาง อ.เมือง มีสภาพน้ำนอนคลอง
แม่น้ำสะแกกรัง จ.กำแพงเพชร ที่สถานี Ct.5Aมีปริมาณน้ำไหลผ่าน 1 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 102.91 ม. ระดับตลิ่ง 107.74 ม.
อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย แนวโน้มเพิ่มขึ้น
แม่น้ำแควน้อย จ.กาญจนบุรี ที่สถานี K.54 บริเวณสะพานฯบ้านลิ่นถิ่น
อ.ทองผาภูมิ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 371ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 4.26 ม.
ระดับตลิ่ง 7.50 ม. อยู่ในเกณฑ์ปกติ แนวโน้มทรงตัว
แม่น้ำแควใหญ่ จ.กาญจนบุรี ที่สถานี K.35A บริเวณบานหนองบัว อ.เมือง
มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 212.8ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 4.12ม. ระดับตลิ่ง
8.00 ม. อยู่ในเกณฑ์ปกติ และมีแนวโน้มลดลง
แม่น้ำลำภาชี จ.ราชบุรี ที่สถานี K.17 บริเวณ บ้านบ่อ อ.สวนผึ้ง มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 18.8 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ระดับน้ำ 1.00 ม. ระดับตลิ่ง 5.90 ม. อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
แม่น้ำเพชรบุรี จ.เพชรบุรี ที่สถานี B.3A บริเวณท้ายเขื่อนแก่งกระจาน อ.แก่งกระจาน มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 1.9 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ระดับน้ำ 0.59 ม. ระดับตลิ่ง 4.40 ม. อยู่ในเกณฑ์ปกติ มีแนวโน้มลดลง และ ที่สถานี
B.10 ท้ายเขื่อนเพชรบุรี บ้านท่ายาง อ.ท่ายาง
มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 24.3 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 1.53 ม. ระดับตลิ่ง 8.50
ม. อยู่ในเกณฑ์ปกติ
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
คลองบางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ที่บ้านวังยาว
อ.บางสะพาน. มีระดับน้ำ 2.14 ม. ( เมื่อวาน ระดับน้ำ 2.50 ม.)
ระดับตลิ่ง 5.00 ม. มีแนวโน้มลดลง
แม่น้ำท่าตะเภา จ.ชุมพร ที่สถานี X.180 บริเวณเทศบาล2 อ.เมือง จ.ชุมพร มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 66.1 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำ 1.25ม.
ระดับตลิ่ง 3.80 ม.อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย มีแนวโน้มลดลง
5.สถานการณ์น้ำท่วม
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
อำเภอเมือง ฝนตกหนักในช่วงกลางคืนวันที่
3 พฤษภาคม2550 เนื่องจากระบายน้ำไม่ทัน และได้เข้าสู่สภาวะปกติในช่วงเช้า
ของวันนี้ แต่ยังคงมีน้ำท่วม บริเวณหน้าเรือนจำ สูงประมาณ 0.50 ม.
อำเภอบางสะพาน
อำเภอบางสะพานน้อย อำเภอกุยบุรีและอำเภอทับสะแก
ยังคงมีน้ำท่วมขังในเขตพื้นที่ลุ่มต่ำ
อำเภอหัวหิน เกิดฝนตกหนักในวันที่ 3 พฤษภาคม 2550 วัดได้ 162 มิลลิเมตร
ทำให้เกิดน้ำท่วมขังเนื่องจากระบายไม่ทัน ปัจจุบันเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว
อำเภอปราณบุรี
สถานการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ
6. คุณภาพน้ำ
สภาพความเค็ม ณ จุดที่เฝ้าระวัง ของแม่น้ำสายหลักต่างๆ แสดงได้ดังนี้
แม่น้ำ |
จุดเฝ้าระวัง |
ความเค็ม (กรัม/ลิตร) |
วันที่ตรวจวัด |
เกณฑ์ |
เจ้าพระยา |
อำเภอเมือง
จังหวัดนนทบุรี |
0.150 |
24 เม.ย.50 |
ปกติ |
ท่าจีน |
อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม |
0.142 |
24 เม.ย.50 |
ปกติ |
แม่กลอง |
ปากคลองดำเนินสะดวก
อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี |
0.044 |
24 เม.ย.50 |
ปกติ |
นครนายก |
ปตน.เสาวภาผ่องศรี
อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก |
0.300 |
25 เม.ย.50 |
ปกติ |
หมายเหตุ: เกณฑ์เฝ้าระวังค่าความเค็ม น้ำเพื่อการเกษตร ไม่เกิน 2.0 กรัม/ลิตร
7. สถานการณ์ภัยแล้ง
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย รายงานพื้นที่ประสบภัยแล้ง (1 พ.ย.2549 4พ.ค. 2550)
ภาค |
จำนวนจังหวัด |
พื้นที่ประสบภัย |
เหนือ |
10 |
กำแพงเพชร ลำปาง ตาก ลำพูน พิจิตร เชียงใหม่ พิษณุโลก แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ และอุทัยธานี |
ตะวันออก
เฉียงเหนือ |
16 |
กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มุกดาหาร ยโสธร ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู สกลนคร
อุดรธานี ศรีสระเกษ นครราชสีมา
อุบลราชธานี มหาสารคาม สุรินทร์ และ ร้อยเอ็ด |
กลาง |
3 |
สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และ ลพบุรี |
ตะวันออก |
2 |
สระแก้ว และปราจีนบุรี |
รวม |
31 |
รวม 31 จังหวัด 232 อำเภอ 27 กิ่งอำเภอ 1,330
ตำบล 6,973 หมู่บ้าน (9% ของหมู่บ้านทั้งประเทศ
โดยจำนวนหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่าปี 2549 คิดเป็น 21 % น้อยกว่าปี 2548 คิดเป็น
25 %) |
หมายเหตุ : จังหวัดที่ประสบภัย 49 จังหวัด เริ่มรายงาน
ณ วันที่ 24 เม.ย.50
จังหวัดที่ประสบภัย 31 จังหวัด (ปัจจุบัน)
เริ่มรายงาน ณ วันที่ 30 เม.ย.50
มีจังหวัดที่ลดลง 18 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย แพร่ น่าน เพชรบูรณ์
เชียงราย อุตรดิตถ์ พะเยา หนองคาย
นครพนม เลย ราชบุรี
จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง
นครศรีธรรมราช ชุมพร
สุราษฎร์ธานี และ สงขลา
8. การจัดสรรน้ำ และการปลูกพืชฤดูแล้งปี
2549/2550
การปลูกพืชฤดูแล้งในเขตชลประทาน เกษตรกรได้ปลูกข้าวนาปรังไปแล้ว
8.52 ล้านไร่ (109.3% ของเป้าหมาย) เก็บเกี่ยวข้าวนาปรังแล้ว 3.8 ล้านไร่ และปลูกพืชไร่-พืชผัก 0.80 ล้านไร่ (92% ของเป้าหมาย)
เก็บเกี่ยวพืชไร่ -พืชผักแล้ว 0.41 ล้านไร่ ปัจจุบันได้ระบายน้ำไปแล้ว 18,509ล้านลูกบากศ์เมตร คิดเป็น96.1% ของแผน(19,266ล้านลูกบากศ์เมตร)
สำหรับในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาบริเวณท้ายเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และ เขื่อนแม่กลอง เกษตรกรได้ปลูกข้าวนาปรังไปแล้ว
5.72 ล้านไร่ (104% ของเป้าหมาย) เก็บเกี่ยวข้าวนาปรังแล้ว 2.56 ล้านไร่
และปลูกพืชไร่-พืชผัก 0.02 ล้านไร่ (58% ของเป้าหมาย)
เก็บเกี่ยวพืชไร่ -พืชผักแล้ว 0.02 ล้านไร่ ปัจจุบันได้ระบายน้ำไปแล้ว 10,248
ล้านลูกบากศ์เมตร คิดเป็น102.0 %
ของแผน (10,050ล้านลูกบากศ์เมตร)
9. การให้ความช่วยเหลือ
กรมชลประทานได้เตรียมเครื่องสูบน้ำช่วยเหลือในฤดูแล้งปี
2550 ทั้งประเทศทั้งในเขตและนอกเขตชลประทาน จำนวน
1,200 เครื่อง และรถยนต์บรรทุกน้ำ
จำนวน 295 คัน ปัจจุบันได้ดำเนินการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำเข้าช่วยเหลือแล้วใน
57 จังหวัด จำนวน 766 เครื่อง แยกเป็นสนับสนุนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง 699 เครื่อง และการอุปโภค-บริโภค 67 เครื่อง สำหรับรถบรรทุกน้ำ 295 คันได้เตรียมพร้อมแล้ว
โดยเริ่มส่งรถยนต์บรรทุกน้ำช่วยเหลือตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2549
ที่จังหวัดจันทบุรี
ทั้งประเทศได้ขนส่งน้ำไปช่วยเหลือ 7,820 เที่ยว คิดเป็นปริมาณน้ำ 43.64
ล้านลิตร
************************************
นายจารุพงษ์ คงใจ วิศวกรชลประทาน 4 รายงาน
นายพรชัย พ้นชั่ว หัวหน้าศูนย์ประสานและติดตามสถานการณ์น้ำ
ตรวจ