Royal Irrigation Department, Thailand
การดำเนินการศึกษาแนวโน้มปริมาณน้ำฝน

ในกรณีที่ท่านต้องการรายละเอียดกรุณาติดต่อ:กลุ่มงานสารสนเทศและพยากรณ์น้ำ สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ hwm04@mail.rid.go.th หรือ โทร. 0-2241-0371,0-2241-2065


วัถุประสงค์ของการศึกษา
ศึกษาสภาพธรรมชาติ และการเปลี่ยนแลงของปริมาณน้ำฝนในแต่ละภาค แต่ละจังหวัด ของประเทศไทยว่ามีแนวโน้มไปในทิศทางใด (เพิ่มขึ้นหรือลดลง)
วิธีการศึกษา
ข้อมูลที่นำมาศึกษาวิเคราะห์ ได้จากแหล่งข้อมูลกรมชลประทาน และกรมอุตุนิยมวิทยา โดยนำข้อมูลปริมาณน้ำฝนของทุกสถานีในแต่ละจังหวัดมาประมวลผลร่วมกันเพื่อหาค่าเฉลี่ยซึ่งจะเป็นตัวแทนของแต่ละจังหวัด แล้วนำค่าตัวแทนของแต่ละจังหวัดมาเฉลี่ย เพื่อเป็นตัวแทนของแต่ละภาค ในการวิเคราะห์ข้อมูล จะใช้ทฤษฎีของอนุกรมเวลา (Time Series) ของ Secular Trend ที่เป็น Linear Trend วิธี Least Square Method โดยเหตุผลที่เลือกใช้วิธี Least Square นี้ เนื่องจากสะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการดูผลและนำผลที่ได้ไปใช้

วิธีหา TREND VALUE จาก LEAST SQUARE โดย

Yc = a + bX

(Sum)Y = Na + b(Sum) X

(Sum) XY = a(Sum) X + b(Sum) X X

ในที่นี้ N = จำนวนปีที่สำรวจข้อมูล

Y = ค่าที่ได้จริง , จากการสำรวจข้อมูลในแต่ละปี

X = ค่าเวลา เป็นปี ในรูปของ CODE NUMBER


คณะผู้ดำเนินการศึกษา(ชุดเดิม 1952-1993)

1. นาย สงวน กันทะวงศ์ นักอุทกวิทยา 8
2. นาย เศวตฉัตร ศรีสุรัตน์ นักอุทกวิทยา 4 ***
3. นาย ชาญณรงค์ ปุคคละนันท์ เจ้าพนักงานอุทกวิทยา 6
4. นาย เศกสรรค์ คงสงฆ์ เจ้าพนักงานอุทกวิทยา 6


คณะผู้ดำเนินการบันทึกศึกษาเพิ่มเติมและรวบรวมลง WEB PAGE (1994-ปัจจุบัน) โดย : กลุ่มงานสารสนเทศและพยากรณ์น้ำ

1. นาย พลชัย กลิ่นขจร นักอุทกวิทยา 8 ว.
2. นาย อโณทัย ประทยศ เจ้าพนักงานอุทกวิทยา 6
3. ว่าที่ ร.ท. ธนาศักดา ทับโทน นักอุทกวิทยา 7 ว. ***


ย้อนกลับ( BACK )*** สามารถศึกษาอ้างอิงได้จากเอกสาร :แนวโน้มน้ำฝนในประเทศไทย :ที่กลุ่มงานสารสนเทศและพยากรณ์น้ำ สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ***