---------- เลือกดูรายการทั้งหมด --------
หน้าที่
Kc
ET/E
ET&ETo
บทความพิเศษ
ฝนใช้การสำหรับข้าว
ฝนใช้การสำหรับพืชไร่
ปริมาณฝนเฉลี่ยรอบ 30 ปี
ผลงานวิชาการด้านพืชไร่
ผลงานวิชาการพืชผัก-พืชสวน
ผลงานวิชาการด้านข้าวและธัญพืช
ผลงานวิชาการด้านวิธีการชลประทาน
ผลงานวิชาการด้านไม้ดอก-ไม้ประดับ
ผลก้าวหน้าการทำนาปีและพืชฤดูฝน
ผลก้าวหน้าการทำนาปรังและพืชฤดูแล้ง
เนื้อที่เพาะปลูกพืชในเขตโครงการ
หน้าหลัก
|
หน้าที่
|
ET
|
ETo
|
ET/E
|
Kc
|
ฝนใช้การ
|
ผลงานวิชาการ
|
สภาพการเพาะปลูกพืช
ในปี พ.ศ. 2494 ซึ่งเป็นระยะแรกของการก่อสร้าง
โครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ เพื่อควบคุมและจัด
สรรน้ำไปยังไร่นาเพื่อส่งให้แก่พืช ตามปริมาณและเวลาที่
พืชต้องการได้อย่างเพียงพอนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างยิ่ง
เพื่อให้ได้ข้อมูลทางด้านการเกษตรชลประทานที่ถูกต้อง
เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ กรมชลประทานจึงได้ติดต่อขอผู้
เชี่ยวชาญจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(FAO)มาช่วยเพื่อเริ่มดำเนินการศึกษา ค้นคว้าวิจัยปริมาณ
การใช้น้ำ หรือความต้องการใช้น้ำของพืชชนิดต่างๆ อย่าง
จริงจัง โดยได้จัดตั้งสถานีทดลองไร่นาผสมตัวอย่างแห่ง
แรกขึ้นที่แผนกโครงการชลประทานหลวงสามชุก อ.สามชุก
จ.สุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2498 เพื่อศึกษาทดลอง
สาธิตการใช้น้ำชลประทานในเขตโครงการเจ้าพระยาใหญ่
และได้ขยายไปในเขตชลประทานภาคต่างๆ ทั่วประเทศใน
เวลาต่อมา ซึ่งปัจจุบันได้เข้ามาอยู่ภายใต้การดำเนินงานของ
"ส่วนการใช้น้ำชลประทาน"
ให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ทางด้านพืช
การใช้น้ำของพืชและระบบวิธีการชลประทาน เพื่อนำ
ไปใช้ประโยชน์ทางด้านงานชลประทาน รวมทั้งในส่วน
ของการศึกษา ค้นคว้า วิจัยต่างๆ
นอกจากนี้ ยังได้จัดทำรายงานสรุปข้อมูลเกี่ยวกับ
การเพาะปลูกข้าวซึ่งเป็นพืชหลักของประเทศ ทั้งฤดูฝน
และฤดูแล้งเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนบริหารจัดการน้ำ
อีกด้วย หากมีข้อสงสัยประการใดสามารถติดต่อได้ตาม
ที่อยู่ด้านล่าง
ส่วนการใช้น้ำชลประทาน สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ กรมชลประทาน
811 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ประเทศไทย
โทรศัพท์ : 0-2241-4794 โทรสาร : 0-2241-4794 ภายใน : 2359
theeraphol@thaimail.com