ยินดีต้อนรับสู่เว็ปไซต์ส่วนอุทกวิทยา
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1.วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลอุตุ-อุทกวิทยา
2.ศึกษา ค้นคว้า วิจัย สถิติข้อมูลในแหล่งน้ำธรรมชาติและโครงการชลประทาน
3.หาข้อกำหนด กฏเกณฑ์การเกิดดับ ผันแปร เคลื่อนที่ หมุนเวียนของน้ำฝนน้ำท่า
4.ให้คำปรึกษา แนะนำ ในการไปประยุกต์ทางอุทกวิทยา
5.เผยแพร่วิชาการอุทกวิทยา
สาระน่ารู้ภายในส่วนอุทกวิทยา
ลำดับ | รายการ | ปรับปรุง |
---|---|---|
1 | อุทกภัยในอำเภอหาดใหญ่ ระหว่าง 31 ตุลาคม - 3 พฤศจิกายน 2553 | 18 มี.ค.54 |
2 | อุทกภัยในเทศบาลนครราชสีมา่ ระหว่าง 14 - 16 ตุลาคม 2553 | 18 มี.ค.54 |
3 | คู่มือการใช้โปรแกรม Basin และ Station Unit Hydrograph | 25 พ.ย.53 |
4 | การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์น้ำท่าและ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำท่ารายปีเฉลี่ยกับพื้นที่ลุ่มน้ำ ใน 25 ลุ่มน้ำหลักของประเทศไทย | 25 พ.ย.53 |
5 | การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์ สถานการณ์น้ำ | 25 พ.ย.53 |
6 | ตารางตรวจสอบสถานีสนามระบบ โทรมาตรขนาดใหญ่ | 25 พ.ย.53 |
7 | คู่มือการคำนวณปริมาณน้ำ (Rating Curve) | 25 พ.ย.53 |
8 | คู่มือการสร้างความสัมพันธ์ระดับน้ำ-ปริมาณน้ำ (Rating Curve) คำอธิบายทั่วไป ปัญหาและการแก้ไข | 25 พ.ย.53 |
9 | คู่มือการประเมินค่าปริมาณการไหลของน้ำ ด้วยวิธี Manning's formula | 25 พ.ย.53 |
10 | คู่มือการกรอก Coding form | 25 พ.ย.53 |
11 | พื้นที่รับน้ำฝนของสถานีสำรวจอุทกวิทยา ใน 25 ลุ่มน้ำหลัก | 25 พ.ย.53 |
12 | คู่มือปฏิบัติงานส่วนอุทกวิทยา | 25 พ.ย.53 |
13 | คู่มือปฏิบัติงานศูนย์อุทกวิทยาทั้ง 8 ภาค | 25 พ.ย.53 |
13 | ผลการศึกษาเบื้องต้น ลุ่มน้ำนครศรีธรรมราช มีนาคม 2554 | 3 เม.ย.54 |
การคาดการณ์ปริมาณน้ำ ล่วงหน้า 1 - 3 วัน ในลุ่มน้ำหลัก โดยแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม (ANNs)
- ตารางแสดงค่าคาดการณ์ปริมาณน้ำล่วงหน้า 1 -3 วัน ของจุดในลุ่มน้ำต่างๆ
- แผนที่จุดคาดการณ์น้ำท่าปี 2553
- การคาดการณ์น้ำท่าในปี 2553
รายงานสถานการณ์น้ำท่า ทั้ง 8 ภาค
- ภาคเหนือตอนบน
- ภาคเหนือตอนล่าง
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
- ภาคกลาง
- ภาคตะวันออก
- ภาคตะวันตก
- ภาคใต้
สถานการณ์น้ำท่ารายวันทั้งประเทศ
- ภาคเหนือตอนบน
- ภาคเหนือตอนล่าง
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
- ภาคกลาง
- ภาคตะวันออก
- ภาคตะวันตก
- ภาคใต้
ปริมาณน้ำท่า
ปริมาณน้ำน้ำในอ่าง-เขื่อน
รายชื่อพายุหมุนเขตร้อน
รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหา
สมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตกและ
ทะเลจีนใต้ โดยคณะกรรมาธิการ
ไต้ฝุ่น เริ่มใช้ปี พ.ศ.2543 ปรับปรุง
แก้ไขล่าสุด ปีพ.ศ.2545
สถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
ปริมาณฝนเฉลี่ยใน 25 ลุ่มน้ำหลัก
แผนที่เส้นชั้นน้ำฝนเฉลี่ยใน 25 ลุ่มน้ำหลัก โดยใช้ข้อมูลน้ำฝนทีมี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2516-2551 มาใช้ใน การสร้างเส้นชั้นน้ำฝน พร้อมทั้งหา ค่าเฉลี่ยจากเส้นชั้นน้ำฝน โดยแยกเป็นรายเดือน-รายปี ในแต่ละลุ่มน้ำ ซึ่งปริมาณฝนฉลี่ยรายปีทั้ง 25 ลุ่มน้ำหลักจะได้ค่าเฉลี่ยประมาณ 1,423 มิลลิเมตร
แผนที่สถานีสำรวจอุทกวิทยา ในปีน้ำ2553
แผนที่แสดงที่ตั้งสถานีสำรวจ
อุทกวิทยา ในปีน้ำ 2553 ได้แยก
แสดงเป็นสถานีวัดระดับน้ำ และ
สถานีวัดปริมาณน้ำ ตามคำสั่งสำ
รวจปีน้ำ 2553 ซึ่งมีสถานีวัดน้ำ
จำนวน 571 สถานี และสถานีวัด
ปริมาณน้ำจำนวน 398 สถานี โดย
สามารถดูรายละเอียดสถานีได้ที่
คำสั่งปีน้ำ 2553
แผนที่เส้นชั้นน้ำฝน ช่วงเกิดอุทกภัยในปี 53
ภาพน้ำท่วมช่วงเกิดอุทกภัยปี'53
- ประมวลภาพอ่างเก็บน้ำแตก บริเวณสถานปฏิบัติธรรมรส จ.ระยอง
- ภาพน้ำท่วมบริเวณถนนสุขุมวิท กม.230-233 เมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2553
- ภาพน้ำท่วมบริเวณเทศบาลอรัญและตลาดโรงเกลือ เมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2553
- ภาพน้ำท่วมโคราช
- ภาพน้ำท่วมหาดใหญ่
กราฟเปรียบเทียบระดับน้ำสูงสุดของแม่น้ำเจ้าพระยา ที่จ.พระนครศรีอยุธยา
กราฟแสดงระดับน้ำสูงสุดรายปีที่ จ.พระนครศรีอยุธยา ระหว่างปี พ.ศ. 2374 - ปัจจุบัน โดยเปรียบเทียค่าเฉลี่ยก่อนและหลังมีเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์